มิน อ่อง หล่าย

Tuesday, 23-Aug-22 14:14:02 UTC

กองทัพปลดปล่อยแห่งชาติตะอาง (TNLA) และ 7. กองทัพอาระกัน (AA) 7 กลุ่มติดอาวุธชาติพันธุ์ในภาคเหนือ มีกำลังพลรวมกันประมาณ 5-6 หมื่นคน มีศักยภาพในการรบ และมีอาวุธทันสมัยจากจีน แต่ผู้นำชาติพันธุ์เหล่านี้ กลับนิ่งเฉยต่อการรัฐประหาร ยกเว้นองค์กรเอกราชคะฉิ่น/กองทัพเอกราชคะฉิ่น (KIO/KIA) กลุ่มติดอาวุธชาติพันธุ์ ที่มีศักยภาพในการสู้รบมากที่สุด ได้ประกาศหนุนรัฐบาลเอกภาพแห่งชาติของอองซานซูจี และเปิดการสู้รบกับทหารเมียนมา นี่คือภาพรวมของกลุ่มติดอาวุธชาติพันธุ์ ที่ยังขาดเอกภาพ และปฏิเสธข้อเสนอของฝ่ายซูจี ที่อยากให้ทุกกลุ่มรวมตัวเป็นกองทัพสหพันธรัฐ จึงทำให้ พล. อาวุโส มินอ่องหล่าย พร้อมที่จะเล่นละครเรื่องสันติภาพ ยื้อเวลาอยู่ในอำนาจต่อไป

  1. “” ไปรัสเซียเพื่อเข้าร่วมประชุมความมั่นคง - สำนักข่าวไทย อสมท
  2. ‘มินอ่องหล่าย’ ลั่นไม่มีวันเจรจากับผู้ก่อการร้ายฝ่ายตรงข้าม ย้ำพร้อมทำลายให้สิ้นซาก
  3. "" ถูกกีดกันเข้าประชุมอาเซียน : PPTVHD36

“” ไปรัสเซียเพื่อเข้าร่วมประชุมความมั่นคง - สำนักข่าวไทย อสมท

จะต้องยุติความรุนแรงในเมียนมาโดยทันที และทุกฝ่ายจะต้องใช้ความยับยั้งชั่งใจอย่างเต็มที่ 2. การเจรจาที่สร้างสรรค์ระหว่างทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องจะเริ่มต้นขึ้น เพื่อหาทางออกอย่างสันติเพื่อผลประโยชน์ของประชาชน 3. ทูตพิเศษของประธานอาเซียนจะอำนวยความสะดวกเป็นสื่อกลางของกระบวนการเจรจาโดยความช่วยเหลือของเลขาธิการอาเซียน 4. อาเซียนจะให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมผ่านทางศูนย์ประสานงานอาเซียนเพื่อความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมด้านการจัดการภัยพิบัติ (AHA) 5.

สหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง/กองทัพปลดปล่อยแห่งชาติกะเหรี่ยง (KNU/KNLA) 2. กะเหรี่ยงพุทธ (DKBA) 3. สภา สันติภาพกองทัพปลดปล่อยชนชาติกะเหรี่ยง (KNLA-PC) 4. กองกำลังพิทักษ์แห่งชาติกะเหรี่ยง (KNDO) 5. กองกำลังพิทักษ์ชายแดน (BGF) อดีตทหารกะเหรี่ยงพุทธ ที่เข้าสังกัดกองทัพเมียนมา สหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง/กองทัพปลดปล่อยแห่งชาติกะเหรี่ยง (KNU/KNLA) เป็นกลุ่มที่ใหญ่ที่สุด มีกองกำลังติดอาวุธที่เข้มแข็งที่สุด ซึ่ง แบ่งการปกครองพื้นเป็น 7 กองพลน้อย กองพลน้อยที่ 1 จ. ดูตะทู หรือ จ. สะเทิม ควบคุมพื้นที่รัฐกะเหรี่ยงบางส่วน และซ้อนกับรัฐมอญตอนบน กองพลน้อยที่ 2 จ. ตองอู ควบคุมพื้นที่รัฐกะเหรี่ยงตอนบน และภาคพะโคด้านตะวันออกเฉียงเหนือบางส่วน กองพลน้อยที่ 3 จ. เกลอะ-ลวีทู ควบคุมพื้นที่ภาคพะโคด้านตะวันออกบางส่วน กองพลน้อยที่ 4 จ. มะริด-ทวาย ควบคุมพื้นที่ภาคตะนาวศรี ตรงข้าม จ. ประจวบคีรีขันธ์ กองพลน้อยที่ 5 จ. มูตรอ หรือ จ. ผาปูน ควบคุมรัฐกะเหรี่ยงตอนเหนือ ตรงข้าม จ. แม่ฮ่องสอน กองพลน้อยที่ 6 จ. ดูปลายา ควบคุมพื้นที่ จ. กอกะเร็ก ทางตอนใต้ของรัฐกะเหรี่ยง และตอนใต้ของรัฐมอญ ตรงข้าม จ. ตาก และ จ. กาญจนบุรี กองพลน้อยที่ 7 จ.

  1. มินอ่องหล่าย ภาษาอังกฤษ
  2. 'มินอ่องหล่าย'เผย'ซูจี'แข็งแรงดี-เตรียมปรากฏตัวที่ศาลไม่กี่วันนี้
  3. ‘มินอ่องหล่าย’ ลั่นไม่มีวันเจรจากับผู้ก่อการร้ายฝ่ายตรงข้าม ย้ำพร้อมทำลายให้สิ้นซาก
  4. วิถีพม่า "มินอ่องหล่าย"รัฐประหารซ้อน
  5. มิน อ่อง หล่าย ยันร่วมประชุมกับผู้นำอาเซียนเสาร์นี้ แม้มีกระแสต้าน
  6. แบบสอบถาม google site

‘มินอ่องหล่าย’ ลั่นไม่มีวันเจรจากับผู้ก่อการร้ายฝ่ายตรงข้าม ย้ำพร้อมทำลายให้สิ้นซาก

2564 คณะนายทหารเมียนมาชุดพูดคุยสันติภาพ ได้เดินทางมายัง บก. บ้านไฮ รัฐฉาน พบกับ "ป่างฟ้า" ประธานพรรครัฐฉานก้าวหน้า/กองทัพรัฐฉาน (SSPP/SSA) ในเรื่องเดียวกันกับที่ไปแจ้งกับตัวแทนว้าแดง เหตุที่กองทัพเมียนมา เลือกพูดคุยกับว้าแดง และกองทัพไทใหญ่เหนือ เนื่องจากสองกลุ่มนี้มีความใกล้ชิดกัน และเป็นปฏิปักษ์กับกลุ่มไทใหญ่ใต้ของเจ้ายอดศึก เกมแย่งกลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มผู้ประท้วงบนท้องถนน พยายามชูป้ายและเรียกหา "กองทัพสหพันธรัฐ" (federal army) เพื่อมาต่อกรกับกองทัพเมียนมา แต่ดูเหมือนว่า เรื่องการตั้งกองทัพของกลุ่มชาติพันธุ์ยังดูเลื่อนลอย ที่ผ่านมา ดร.

ผาปูน เมื่อหลายเดือนก่อน ล่าสุด มีความเคลื่อนไหวของทหารเมียนมา ในพื้นที่ของกองพลน้อยที่ 5 จ. ผาปูน หรือ จ. มูตรอ หลังเกิดเหตุการณ์ทหารกะเหรี่ยง KNU/KNLA ซุ่มโจมตีทหารกะเหรี่ยง BGF เมื่อวันที่ 20 ธ. 2564 'สันติภาพหรือสงคราม' ประเด็นบางกองพลยิง หรือบางกองพลไม่ยิงของทหาร "กะเหรี่ยง KNU" เป็นการต่อสู้สองความคิดสองแนวทางในหมู่ชาวกะเหรี่ยง ภายใต้การนำของสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง (KNU) เนื่องจาก KNU เป็น 1 ใน 10 กลุ่มชาติพันธุ์ติดอาวุธ ที่ลงนามหยุดยิงกับรัฐบาลเต็งเส่ง และหลังรัฐประหาร ผู้นำ KNU แถลงว่า ขอยุติกระบวนการเจรจาสันติภาพไว้ชั่วคราว ภายในสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง (KNU) จะแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกนำโดย KNLA กองพลน้อยที่ 7 จ. ผาอัน มี พล. อ. มูตูเซพอ เป็นฝ่ายริเริ่มการเจรจาสันติภาพกับรัฐบาลเต็งเส่ง เพื่อความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชนในรัฐกะเหรี่ยง KNLA กองพลน้อยที่ 1, 2, 3, 4, 6 ล้วนเห็นด้วยกับแนวทางของ พล. มูตูเซพอ เพราะรบกับทหารเมียนมามานานแล้ว ชีวิตความเป็นอยู่ของชาวกะเหรี่ยงกลับย่ำแย่ลง อีกกลุ่มหนึ่งคือ KNLA กองพลน้อยที่ 5 จ. มูตรอ นำโดยนอว์ซิปโปรา เส่ง รองประธาน KNU และ พล. ท. บอจ่อแฮ รองผู้บัญชาการ KNLA ซึ่งไม่ไว้ใจในการร่วมมือกับรัฐบาลเมียนมา เรียกร้องให้เมียนมาเปลี่ยนแปลงไปสู่ระบอบประชาธิปไตย โดยร่วมมือกับกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมืองที่ลี้ภัยไปต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม กองพลน้อยที่ 5 ได้ร่วมลงนามหยุดยิง ช่วงที่พรรคเอ็นแอลดีเป็นรัฐบาลในปี 2559 เพราะประเมินว่า อองซานซูจี จะผลักดันให้แผนสันติภาพมีความคืบหน้า 'กะเหรี่ยงหลายก๊ก' พูดถึงกลุ่มติดอาวุธชาติพันธุ์กะเหรี่ยง ไม่ได้มีแค่ "กะเหรี่ยง KNU" เท่านั้น หากแต่มีการแยกตัวออกไปตั้งกองกำลังของตัวเอง ประกอบด้วย 5 ก๊ก คือ 1.

พลเอกอาวุโส มิน อ่อง หล่าย

"" ถูกกีดกันเข้าประชุมอาเซียน : PPTVHD36

ที่กรุงเนปีดอว์ ซึ่งจนถึงตอนนี้เธอปรากฏตัวผ่านทางวิดีโอลิงก์เท่านั้น และยังไม่ได้รับอนุญาตให้พูดคุยโดยตรงกับทนายความของเธอ เนื่องจากรัฐบาลทหารอ้างเหตุผลด้านความปลอดภัย

มิน อ่อง หล่าย วิกิ มิน อ่องหล่าย