How To Make Multilingual Website Wordpress

Saturday, 20-Aug-22 19:52:19 UTC

ขั้นตอนต่อมาให้เราเลือกภาษาที่สองของเว็บนี้ ในที่นี่เลือกเป็นภาษาไทยครับ 7. ทำการเพิ่ม switcher เปลี่ยนภาษาเข้าไปบนเมนู โดยการคลิกไปที่ add a new language switcher to a menu 8. ปรับเปลี่ยน switcher option อาจจะตั้งค่าตามรูปได้เลยครับ และคลิก save ให้เรียบร้อย จากนั้นให้คลิก Next 9. พอเข้ามาถึงหน้าที่ต้อง Registration ให้เราคลิก Remind me later หากเรายังไม่ต้องการลงทะเบียนมันตอนนี้ คลิก Finish ได้เลย 10. เพื่อให้ URL ตอนเปลี่ยนภาษาออกมาสวย ตรงตาม URL ของภาษาหลัก ในส่วนของ Language URL format ให้เราติ๊ก Different languages in directories ตามรูปเลยครับ ซึ่งตรงจุดเองที่พวกปลั๊กอินแปลภาษาตัวฟรี เช่น PolyLang ทำไม่ได้ 11. ต่อมาไปที่หน้า page หรือ post ที่เราต้องแปลภาษากันได้เลยครับ ในที่นี้ผมขอยกตัวอย่างหน้า Home ละกันนะ จากนั้นให้คลิกเครื่องหมาย + เพื่อเพิ่มภาษาที่สอง ดูตามรูปภาพประกอบได้เลยครับ 12. ระบบปลั๊กอินก็จะพาเรามาหน้าที่จะใช้แปลภาษา ซึ่งในที่นี่เรากำลังจะแปลภาษาจากอังกฤษ เป็นภาษาไทย และเพื่อให้ง่ายที่สุด ให้เรากด Overwrite with English content ไปได้เลยครับ เราจะได้ไม่ต้องมานั่งจัด layout หน้าเว็บใหม่ 13.

  1. [Facebook FAQ] วิธีดาวน์โหลดวิดีโอบน Facebook แบบง่ายๆ ไม่ต้องติดตั้งโปรแกรมเสริม
  2. การทําเว็บหลายภาษา บน WordPress ด้วยปลั๊กอิน WPML
  3. จ อย tk
  4. Baywatch ซับ ไทย voathai.com

[Facebook FAQ] วิธีดาวน์โหลดวิดีโอบน Facebook แบบง่ายๆ ไม่ต้องติดตั้งโปรแกรมเสริม

สว ท 92.5

การทําเว็บหลายภาษา บน WordPress ด้วยปลั๊กอิน WPML

glc 220d ราคา

จ อย tk

  • โจ เอ ล
  • [AD] รีวิว BRIDGESTONE POTENZA Adrenalin RE004 ยางสปอร์ต หนึบเอาเรื่อง สายซิ่งเค้ารู้กัน - ข่าวในวงการรถยนต์ |
  • ร่างประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง กำหนดท้องที่ที่รถยนต์รับจ้างบรรทุกคนโดยสารไม่เกินเจ็ดคนที่จดทะเบียนในเขตกรุงเทพมหานครสามารถใช้วิธีตกลงราคานอกจากการใช้มาตรค่าโดยสาร พ.ศ. ....

Baywatch ซับ ไทย voathai.com

แต่สำหรับบทความนี้เราจะพูดถึงเฉพาะการใช้ปลั๊กอินช่วยในการแยกแต่ละภาษา โดยใช้ ปลั๊กอิน WPML เป็นตัวมาตรฐานที่สุด แต่เป็นตัวเสียตังค์นะ มีปลั๊กอินต่างๆ รองรับเยอะมาก ถ้าต้องเลือกใช้ปลั๊กอิน ใช้ตัวนี้ดีสุดครับ ขั้นตอนใช้งานปลั๊กอิน WPML 1. ไปซื้อปลั๊กอินเตรียมไว้ได้เลยครับ ตัวนี้เสียเงินนะ ราคาแพคเกจเริ่มต้นคือ 29 $ ครับ โดยส่วนตัวผมก็ใช้แพคเกจนี้อยู่ครับ เข้าไปดูรายละเอียดของแต่ละแพคเกจของ WPML ได้ที่นี่ครับ 2. หลังจากเราซื้อปลั๊กอินเรียบร้อยแล้ว ให้เราเข้าไปดาวน์โหลดปลั๊กอินเพื่อมาใช้งานได้ที่หน้า accout และคลิกตรงส่วน download ได้เลยครับ 3. พอเราเข้าสู่หน้า download เราจะเจอปลั๊กอินมากมาย ที่มาพร้อมกับแพคเกจที่เราได้เลือกซื้อไว้ โดยในเบื้องต้นปลั๊กอินที่เราจะใช้งานมีอยู่ 2 ตัว คือ WPML Multilingual CMS และ WPML String Translation ดาวน์โหลดมาเก็บไว้ที่เครื่องคอมของเราได้เลยครับ 4. จากนั้นให้เราติดตั้งปลั๊กอินทั้ง 2 ตัวให้เรียบร้อยบนเว็บไซต์ของเรา โดยมีหลักการอยู่ว่าให้ลงปลั๊กอิน ตัวหลัก คือตัว WPML Multilingual CMS ก่อน จากนั้นค่อยลง WPML String Translation ตามทีหลัง 5. ไปที่แถบเมนู คลิก WPML เพื่อเข้าสู่หน้าการใช้งานปลั๊กอิน ให้เลือกภาษาหลักของเว็บที่เราต้องการ ในที่นี้ขอใช้ ภาษาอังกฤษ เป็นภาษาหลักแล้วกันนะครับ จากนั้นคลิก next 6.

ให้เราไปที่ส่วนปรับแต่ง Menu ที่ Appearance โดยดูตรงแถบแสดงภาษา เลือกเป็น thai จากนั้นก็เราให้เรา create a new menu ได้เลย เมื่อเราทำทุกอย่างเรียบร้อยแล้ว เราก็จะได้เมนูภาษาไทยเพิ่มเข้ามาอีก 1 ชุด ดูภาพประกอบนะครับ จากนั้นเราลองไปดูผลงานจริงที่หน้าเว็บไซต์ของเราเลย ว่ามันเปลี่ยนภาษาหรือไม่ จากรูปภาพสังเกตว่าเมนูของเราเปลี่ยนเป็นภาษาไทยแล้วครับ การแปลภาษาตรงส่วน Widget คราวนี้มาดูต่อ ถ้าเราจะแปลภาษาในส่วนของ Widget ต่างๆ หล่ะ เขามีวิธีการอย่างไรกันบ้าง ดูที่รูปภาพประกอบนะครับ ตอนนี้เว็บตัวอย่าง ส่วนของ footer ยังแสดงเป็นภาษาอังกฤษอยู่ ขั้นตอนการแปลภาษาตรงส่วนของ Widget มีดังนี้ครับ 1. กลับไปที่ส่วนของปลั๊กอิน WPML ให้คลิกที่ String translation 2.