Acute Pancreatitis อาการ

Saturday, 27-Aug-22 04:22:11 UTC

โรคถุงผนังลำไส้ใหญ่อักเสบ (Diverticulitis) โรคถุงผนังลำไส้อักเสบเป็นโรคที่มักพบได้ในผู้สูงอายุ เพราะยิ่งอายุมากขึ้นเนื้อเยื่อบริเวณผนังลำไส้จะเสื่อมไปตามอายุ ทำให้เมื่อเกิดความดันในลำไส้ใหญ่ ผนังลำไส้ก็จะเกิดการโป่งพอง และบริเวณที่โป่งพองนั้นก็จะกลายเป็นแหล่งสะสมของเชื้อโรค ทำให้เกิดการอักเสบในเวลาต่อมา โดยอาการดังกล่าวจะก่อให้เกิดอาการปวดที่บริเวณหน้าท้องซ้ายล่าง หรือต่ำกว่าสะดือลงมา โดยจะปวดตลอดเวลา ทั้งนี้ยังอาจมีอาการอุจจาระเป็นเลือด คลื่นไส้ อาเจียน มีไข้ และเบื่ออาหารร่วมด้วย 2. การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ และกรวยไตอักเสบ อันส่งผลให้ปวดท้องที่บริเวณด้านล่างข้างซ้าย ปัสสาวะติดขัด และรู้สึกปวดท้องน้อยขณะปัสสาวะ ซึ่งถ้าหากปล่อยไว้อาจจะทำให้เกิดการติดเชื้อลุกลามไปจนถึงไต และกลายเป็นโรคไตได้ 3. โรคไต (Kidney Disorders) อาการติดเชื้อที่ไต หรือนิ่วในไต จะทำให้เกิดอาการปวดท้องด้านซ้ายล่างอย่างหนัก ทั้งนี้อาการของโรคไต และนิ่วในไตสามารถแยกแยะได้จากอาการข้างเคียง โดยอาการนิ่วในไต จะมาพร้อมกับอาการไข้สูง คลื่นไส้ อาเจียน และอาการปวดหน่วง ๆ ที่ต้นขา ขณะที่อาการไตอักเสบจะมีอาการปวดท้องด้านซ้ายล่างแบบเฉียบพลัน มีความรู้สึกอยากปัสสาวะตลอดเวลา ปวดแสบปวดร้อนขณะปัสสาวะ หรือปัสสาวะเป็นเลือดร่วมด้วย 4.

  1. Meaning
  2. Prognosis
  3. Symptoms
  4. โรคตับอ่อนอักเสบ (Pancreatitis): อาการ สาเหตุ การรักษา - INUS APCNS – ข่าวเด่นวันนี้
  5. ตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน (Acute pancreatitis) ข้อมูลโรค พร้อมโปรแกรมตรวจอาการเบื้องต้น
  6. Side effects

Meaning

สาเหตุ การอักเสบมักเป็นผลมาจากการ "รั่ว" ของน้ำย่อย (เอนไซม์) ของตับอ่อนเองออกมาทำให้เนื้อเยื่อของตับอ่อนเกิดการอักเสบ ซึ่งอาจทำให้เนื้อเยื่อตับอ่อนบางส่วนเสียหาย เกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ตามมาได้ สาเหตุที่พบบ่อย ได้แก่ การเป็นนิ่วน้ำดี (ที่อุดกั้นทางเดินน้ำดี) การดื่มสุราจัด และภาวะไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูงแบบรุนแรง (มีระดับไตรกลีเซอไรด์ในเลือด มากกว่า 1, 000 มก. ต่อ 100 มล. )

Prognosis

  • รู้จักกับเครื่องวัดระยะเลเซอร์ (Laser Distance Meter) | Green Industry
  • Acute pancreatitis อาการ side effects
  • Acute pancreatitis อาการ patient
  • Acute pancreatitis อาการ symptoms
  • ลืมกินยาคุม “ไมนอซ” – คุยเฟื่องเรื่องยา
  • ข้าวเกรียบ ดิบ ขายส่ง
  • รถ ดุ๊ ก ดิ๊ ก โลตัส สุขาภิบาล
  • Acute pancreatitis อาการ life expectancy
  • สวนลุงบุญ งาน หางาน สมัครงาน - JobThai
  • Acute pancreatitis อาการ
  • ไฟ ตก แอร์ เปิด ไม่ ติด
  • บริษัท แอมวิช ยูนิเทค จำกัด

Symptoms

ลำไส้แปรปรวน (Irritable Bowel Syndrome) ลำไส้แปรปรวนเป็นอาการเรื้อรังที่เกิดขึ้นจากการทำงานที่ผิดปกติของลำไส้ หรือเกิดจากการติดเชื้อบางชนิด ทำให้รู้สึกปวดท้องด้านซ้ายบน ท้องเสียเรื้อรัง และมีอาการท้องผูกอยู่เป็นประจำ โดยโรคนี้ไม่สามารถรักษาให้หายขาดแต่ก็สามารถควบคุมให้อยู่ในภาวะสงบได้ค่ะ 6. อาการม้ามโต (Splenomegaly) ม้ามโตเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็นการติดเชื้อแบคทีเรียหรือไวรัส โรคลูคีเมีย และโรคตับแข็ง ซึ่งอาการที่เห็นได้ชัดคือ ม้ามจะขยายขนาดขึ้นและไปกดทับอวัยวะต่าง ๆ ทำให้รู้สึกปวดท้องด้านซ้ายบน แต่ทั้งนี้ก็ยังมีอาการอื่น ๆ ร่วมด้วย ได้แก่ อาการอึดอัดแน่นท้อง หายใจไม่สะดวก แขนขาอ่อนแรง เหนื่อยง่าย รวมทั้งอาการติดเชื้อง่าย ดังนั้นเพื่อการสันนิษฐานที่แน่ชัดควรสังเกตอาการอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นควบคู่กันไปค่ะ 7. อาการปอดบวม (Pneumonia) ปอดเป็นอีกหนึ่งอวัยวะที่แม้จะไม่ได้อยู่ในช่องท้องแต่ก็สามารถส่งผลข้างเคียงต่อบริเวณช่องท้องได้เช่นกัน โดยเฉพาะอาการปอดบวมที่เกิดจากการติดเชื้อ จะทำให้ปอดบวมและขยายตัวจนไปกดทับอวัยวะที่อยู่ใกล้เคียงในซีกซ้ายของร่างกาย จึงทำให้เกิดอาการปวดท้องด้านซ้ายบน อีกทั้งยังทำให้หายใจลำบาก เจ็บหน้าอก มีไข้สูง มีอาการหนาวสั่น และอาการไออย่างรุนแรงร่วมด้วย 8.

โรคตับอ่อนอักเสบ (Pancreatitis): อาการ สาเหตุ การรักษา - INUS APCNS – ข่าวเด่นวันนี้

เพศ เพศชายมีความเสี่ยงมากกว่าเพศหญิง 2. อายุ เพศชายที่มีอายุมากกว่า 45 ปี และเพศหญิงที่มีอายุมากกว่า 55 ปี มีโอกาสเสี่ยงเกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน 3. พันธุกรรม ผู้ที่มีประวัติครอบครัว (first degree relative) หมายถึง พ่อแม่ พี่น้อง ลูก เป็น โรคเส้นเลือดหัวใจตีบตัน ก่อนวัยอันควร (เพศชายอายุน้อยกว่า 55 ปี เพศหญิงอายุน้อยกว่า 65 ปี) ปัจจัยเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงได้ 1. ความดันโลหิตสูง ความเสี่ยงต่อโรคแทรกซ้อนอื่นๆ เช่น โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคตา หรือ โรคไต 2. ระดับไขมันในเลือดสูง ไขมันจะจับที่ผนังด้านในหลอดเลือดหัวใจเกิดการรวมตัวเป็นแผ่นหนามากขึ้น ทำให้หลอดเลือดตีบแคบลง ส่งผลให้ความดันโลหิตสูงขึ้น 3. การสูบบุหรี่ สารนิโคตินในบุหรี่จะทำให้หลอดเลือดแดงแข็งตัว ความยืดหยุ่นของหลอดเลือดลดลง เกิดความดันโลหิตสูง 4. โรคเบาหวาน ปัจจัยเสริมที่ทำให้เกิดหลอดเลือดแดงตีบแข็งได้ 5. อ้วนลงพุง เนื่องจากคนที่อ้วนลงพุงส่วนใหญ่พบว่ามีระดับไขมันในหลอดเลือดสูง โดยพิจารณาได้จากขนาดของเส้นรอบเอว ผู้ชายไม่ควรเกิน 90 เซนติเมตร และผู้หญิงไม่เกิน 80 เซนติเมตร 6. ขาดการออกกำลังกาย จะทำให้การไหลเวียนเลือดไม่สะดวก การเผาผลาญพลังงานน้อย และเกิดการสะสมของไขมันได้ 7.

ตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน (Acute pancreatitis) ข้อมูลโรค พร้อมโปรแกรมตรวจอาการเบื้องต้น

และจะสู่ปกติ 3-7 วัน Lipase จะสูงขึ้นที่ 4 - 8 ชม. และจะกลับสู่ปกติ 7-14 วัน -มีการตรวจที่มีความจำเพาะกว่า เช่น trypsinogen activation peptide และ trypsinogen แต่ยังไม่สามารทำได้โดยทั่วไป -มีการกล่าวถึงการตรวจ amylase ในปัสสาวะว่าจะสูงขึ้นแต่ไม่ค่อยกล่าวถึงในการนำมาใช้เพื่อการวินิจฉัย Ref: Harrison's Principles of Internal Medicine 18 th Edition

Side effects

ความเครียด ทำให้ร่างกายเกิด การเผาผลาญไขมันในหลอดเลือดผิดปกติ ทำให้ระดับไขมันในหลอดเลือดสูงได้ อาการแสดงของกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน 1. เจ็บแน่นหน้าอก มีอาการเจ็บแน่นอยู่ใต้หน้าอก อาจร้าวไปที่แขน ไหล่ คอ หรือกราม อาการเจ็บประมาณ 5-10 นาที อาจถูกกระตุ้นโดยการออกแรง หรือภาวะเครียด อาการจะดีขึ้นเมื่อได้พักหรือใช้ยาอมใต้ลิ้น หรือพ่นยาใต้ลิ้น แต่ในภาวะกล้ามเนื้อโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันจะมีอาการเจ็บแน่นหน้าอกอย่างต่อเนื่อง แม้จะอมยาใต้ลิ้นแล้ว หรือมีการเจ็บแน่นหน้าอกแม้ในขณะนั่งพักก็ได้ 2. ใจสั่น เหงื่อออกมาก เหนื่อยง่าย แนวทางการรักษาภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน แบ่งตามความรุนแรงของโรคได้ 2 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ชนิดพบ การยกตัวอย่างผิดปกติของช่วง ST segment (STEMI) ในคลื่นไฟฟ้าหัวใจ เป้าหมายสำคัญ คือ ควรเปิดหลอดเลือดทำให้กล้ามเนื้อหัวใจตายภายใน 12 ชั่วโมง หลังจากมีอาการเจ็บเค้นอก ภายใน 12-24 ชั่วโมง พิจารณาการรักษาอย่างเร่งด่วน โดยทำการขยายหลอดเลือดหัวใจด้วยบอลลูน และ/หรือใส่ขดลวด 2. กลุ่มภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ชนิดไม่พบ การยกตัวอย่างผิดปกติของช่วง ST segment (Non-STEMI) ในคลื่นไฟฟ้าหัวใจ พิจารณาการรักษาโดยการเปิดหลอดเลือดหัวใจที่อุดตันด้วยการฉีดสีหลอดเลือดหัวใจ และใส่ขดลวดค้ำยันโดยเร็วในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงดังต่อไปนี้ เจ็บเค้นอกและอาการไม่ดีขึ้น หลังให้การรักษาเบื้องต้นด้วยยาต้านเกล็ดเลือดและยาบรรเทาอาการเจ็บเค้นอก ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเสียชีวิต ได้แก่ อาการเจ็บหน้าอกไม่คงที่ เป็นๆ หายๆ ภาวะไหลเวียนโลหิตไม่คงที่ มีอาการและอาการแสดงของ ภาวะหัวใจล้มเหลว การรักษาโดยการขยายหลอดเลือดหัวใจ 1.

การขยายด้วยบอลลูน และ/หรือการขยายด้วยขดลวด มีทั้งขดลวดแบบเคลือบยา ไม่เคลือบยา และขดลวดแบบละลายได้ พิจารณาตามความเหมาะสมของแต่ละบุคคล 2. การรักษาด้วยการผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ เป็นการผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ เพื่อให้เลือดไหลเวียนข้ามบริเวณที่มีการตีบตันไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจได้ ทำในกรณีใส่ขดลวดไม่ได้ หรือตรวจพบภาวะแทรกซ้อนอย่างอื่นร่วมด้วย 3. การรักษาด้วยยา การปฏิบัติตัวสำหรับผู้มีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน 1. ออกกำลังกายอย่างสมํ่าเสมออย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้งๆ ละ 30 นาที การออกกำลังกายที่ดีที่สุด คือ การเดิน โดยเริ่มเดินช้าๆ ก่อนแล้วค่อยๆ เพิ่มระยะทาง แต่อย่าให้เกินกำลังตนเอง 2. เมื่อมีอาการเจ็บหน้าอก ให้หยุดกิจกรรมนั้นๆ ทันทีและอมยาใต้ลิ้น 1 เม็ด หากอาการยังไม่ทุเลาลงให้อมยาใต้ลิ้นซํ้าได้อีก 1 เม็ด ห่างกัน 5 นาที แต่ไม่ควรเกิน 3 เม็ด หากอาการไม่ดีขึ้นใน 15-20 นาที ให้รีบไปพบแพทย์ทันที 3. ทำจิตใจให้สงบ หาเวลาพักผ่อนและลดความเครียด หลีกเลี่ยงสิ่งที่ทำให้ตื่นเต้น เช่น การดูเกมกีฬา การแข่งขันที่เร้าใจ 4. สามารถมีเพศสัมพันธ์ได้ หากมีอาการใจสั่น หายใจขัด หรือเจ็บหน้าอกนานเกิน 15 นาทีหลังมีเพศสัมพันธ์ควรปรึกษาแพทย์ 5.